ประเด็นคำถาม คำตอบเกี่ยวกับการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำถาม 1 : ขอทราบหลักเกณฑ์และขั้นตอนการขอเปลี่ยนชื่อขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำตอบ (1): หลักเกณฑ์การขอเปลี่ยนแปลงชื่อ
(๑) ชื่อเดิมมีความหมายไม่ดีไม่สุภาพหรือไม่เป็นมงคล
(๒) การเปลี่ยนแปลงชื่อเพื่อแสดงถึงความเป็นมาทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ดั้งเดิมสามารถพิสูจน์ได้จากเอกสารบุคคลหรือสถานที่
(๓) ชื่อที่เสนอขอเปลี่ยนแปลงต้องไม่ขัดต่อวัฒนธรรมและศีลธรรมอันดีของประชาชนและเป็นการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
(๔) ขอเปลี่ยนกลับไปใช้ชื่อเดิมซึ่งมีความหมายดีประชาชนนิยมเรียกขานเป็นระยะเวลายาวนานและเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป
(๕) การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเพื่อใช้ภาษาท้องถิ่นซึ่งมีความหมายในทางที่ดีและถือเป็นการอนุรักษ์ด้านภาษา
(๖) การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเป็นกรณีพิเศษโดยได้รับพระราชทานชื่อใหม่จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและพระบรมวงศานุวงศ์หรือสมเด็จพระสังฆราชประทานให้
(๗) ชื่อเดิมไปตรงหรือพ้องกันกับชื่อส่วนราชการอื่นที่อยู่ในเขตติดต่อกันหรือในบริเวณเดียวกัน ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลงชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. จัดทำเรื่องเสนอขอเปลี่ยนมายังกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในเบื้องต้นก่อนและให้นำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาเรื่องการขอเปลี่ยนแปลงชื่อจังหวัดอำเภอและตำบลหมู่บ้านหรือสถานที่ราชการอื่น ๆ เพื่อพิจารณาต่อไป
โดยจัดทำเอกสารดังต่อไปนี้ จำนวน ๑๕ ชุด
(๑) สำเนารายงานการประชุมสภา อปท.
(๒) สำเนารายงานการประชุมราษฎรในเขตพื้นที่
(๓) ความเห็นชอบของนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) รายงานประวัติความเป็นมาข้อเท็จจริงของสถานที่ที่ขอเปลี่ยนชื่อนั้นโดยสังเขปพร้อมทั้งเหตุผลในการขอเปลี่ยนแปลงชื่อและอธิบายความหมายของคำที่ขอเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน
(๕) ทำแผนที่โดยสังเขปแสดงที่ตั้งของสถานที่ที่จะขอเปลี่ยนแปลงชื่อและสถานที่ใกล้เคียงที่สำคัญอื่น ๆ ไว้ด้วย
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 2 : การจัดตั้ง หรือเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลเมือง หรือเทศบาลนคร มีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง
(๑) ชื่อเดิมมีความหมายไม่ดีไม่สุภาพหรือไม่เป็นมงคล
(๒) การเปลี่ยนแปลงชื่อเพื่อแสดงถึงความเป็นมาทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ดั้งเดิมสามารถพิสูจน์ได้จากเอกสารบุคคลหรือสถานที่
(๓) ชื่อที่เสนอขอเปลี่ยนแปลงต้องไม่ขัดต่อวัฒนธรรมและศีลธรรมอันดีของประชาชนและเป็นการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
(๔) ขอเปลี่ยนกลับไปใช้ชื่อเดิมซึ่งมีความหมายดีประชาชนนิยมเรียกขานเป็นระยะเวลายาวนานและเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป
(๕) การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเพื่อใช้ภาษาท้องถิ่นซึ่งมีความหมายในทางที่ดีและถือเป็นการอนุรักษ์ด้านภาษา
(๖) การขอเปลี่ยนแปลงชื่อเป็นกรณีพิเศษโดยได้รับพระราชทานชื่อใหม่จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและพระบรมวงศานุวงศ์หรือสมเด็จพระสังฆราชประทานให้
(๗) ชื่อเดิมไปตรงหรือพ้องกันกับชื่อส่วนราชการอื่นที่อยู่ในเขตติดต่อกันหรือในบริเวณเดียวกัน ขั้นตอนการขอเปลี่ยนแปลงชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อปท. จัดทำเรื่องเสนอขอเปลี่ยนมายังกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในเบื้องต้นก่อนและให้นำเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาเรื่องการขอเปลี่ยนแปลงชื่อจังหวัดอำเภอและตำบลหมู่บ้านหรือสถานที่ราชการอื่น ๆ เพื่อพิจารณาต่อไป
โดยจัดทำเอกสารดังต่อไปนี้ จำนวน ๑๕ ชุด
(๑) สำเนารายงานการประชุมสภา อปท.
(๒) สำเนารายงานการประชุมราษฎรในเขตพื้นที่
(๓) ความเห็นชอบของนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัด
(๔) รายงานประวัติความเป็นมาข้อเท็จจริงของสถานที่ที่ขอเปลี่ยนชื่อนั้นโดยสังเขปพร้อมทั้งเหตุผลในการขอเปลี่ยนแปลงชื่อและอธิบายความหมายของคำที่ขอเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน
(๕) ทำแผนที่โดยสังเขปแสดงที่ตั้งของสถานที่ที่จะขอเปลี่ยนแปลงชื่อและสถานที่ใกล้เคียงที่สำคัญอื่น ๆ ไว้ด้วย
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำตอบ (2): หลักเกณฑ์การจัดตั้งเป็นเทศบาลเมือง
(๑) ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่หนึ่งหมื่นคนขึ้นไป และ
(๒) มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้
หลักเกณฑ์การจัดตั้งเทศบาลนคร
(๑) ท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่ห้าหมื่นคนขึ้นไป และ
(๒) มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 3 : เทศบาลสามารถเปลี่ยนแปลงเขตโดยเอาพื้นที่ของเทศบาลอื่นมารวมด้วยได้หรือไม่ ถ้าได้มีขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร
(๑) ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่หนึ่งหมื่นคนขึ้นไป และ
(๒) มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้
หลักเกณฑ์การจัดตั้งเทศบาลนคร
(๑) ท้องถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแต่ห้าหมื่นคนขึ้นไป และ
(๒) มีรายได้พอควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำตอบ (3): ได้ มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
(๑) ประชาชนที่มีความประสงค์จะไปอยู่กับเทศบาลอื่น ยื่นคำร้องต่อเทศบาลที่ตนมีภูมิลำเนาอยู่และเทศบาลที่ต้องการจะไปอยู่
(๒) เทศบาลทั้งสองแห่งตรวจสอบเหตุผลและความจำเป็น แล้วรายงานผู้กำกับดูแล
(๓) จังหวัดจัดประชุมราษฎรในเขตเทศบาลที่จะแยกพื้นที่บางส่วน และเทศบาลที่จะรับรวม
(๔) หากประชาชนในเขตเทศบาลที่จะแยกพื้นที่บางส่วน ยินยอมให้ไป และเทศบาลที่จะรับรวมยินยอมรับ
ให้จัดส่งเอกสารให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้
(๑) ประชาชนที่มีความประสงค์จะไปอยู่กับเทศบาลอื่น ยื่นคำร้องต่อเทศบาลที่ตนมีภูมิลำเนาอยู่และเทศบาลที่ต้องการจะไปอยู่
(๒) เทศบาลทั้งสองแห่งตรวจสอบเหตุผลและความจำเป็น แล้วรายงานผู้กำกับดูแล
(๓) จังหวัดจัดประชุมราษฎรในเขตเทศบาลที่จะแยกพื้นที่บางส่วน และเทศบาลที่จะรับรวม
(๔) หากประชาชนในเขตเทศบาลที่จะแยกพื้นที่บางส่วน ยินยอมให้ไป และเทศบาลที่จะรับรวมยินยอมรับ
ให้จัดส่งเอกสารให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้
(๔.๑) สำเนารายงานการประชุมราษฎร ตามข้อ (๓)
(๔.๒) เหตุผลความจำเป็นของเทศบาลที่จะแยกพื้นที่ไปรวม และเทศบาลที่รับพื้นที่มารวม
(๔.๓) ข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลทั้งสองแห่ง
(๔.๔) ความเห็นของสภาเทศบาลทั้งสองแห่ง
(๔.๕) ความเห็นของอำเภอ และจังหวัด
(๔.๖) แผนที่และคำบรรยายแนวเขตใหม่ของเทศบาลทั้งสองแห่ง ขนาด ๑:๕๐,๐๐๐
(๔.๒) เหตุผลความจำเป็นของเทศบาลที่จะแยกพื้นที่ไปรวม และเทศบาลที่รับพื้นที่มารวม
(๔.๓) ข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลทั้งสองแห่ง
(๔.๔) ความเห็นของสภาเทศบาลทั้งสองแห่ง
(๔.๕) ความเห็นของอำเภอ และจังหวัด
(๔.๖) แผนที่และคำบรรยายแนวเขตใหม่ของเทศบาลทั้งสองแห่ง ขนาด ๑:๕๐,๐๐๐
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 4 : องค์การบริหารส่วนตำบลจะแยกพื้นที่บางส่วนไปรวมกับเทศบาลหรือรับพื้นที่บางส่วนของเทศบาลมารวมด้วยได้หรือไม่ ถ้าได้มีขั้นตอนการดำเนินการอย่างไร
คำตอบ (4): ได้ มีขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
(๑) ประชาชนในพื้นที่ที่จะขอแยกพื้นที่บางส่วน ยื่นคำร้องแสดงความประสงค์ต่อองค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาล
(๒) องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลนำเรื่องเข้าพิจารณาในที่ประชุมสภาฯ
(๓) องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลรายงานนายอำเภอในพื้นที่
(๔) นายอำเภอจัดให้มีการสำรวจเจตนารมณ์ของประชาชน ตามระเบียบฯ
(๕) ส่งข้อมูลให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้
(๑) ประชาชนในพื้นที่ที่จะขอแยกพื้นที่บางส่วน ยื่นคำร้องแสดงความประสงค์ต่อองค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาล
(๒) องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลนำเรื่องเข้าพิจารณาในที่ประชุมสภาฯ
(๓) องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลรายงานนายอำเภอในพื้นที่
(๔) นายอำเภอจัดให้มีการสำรวจเจตนารมณ์ของประชาชน ตามระเบียบฯ
(๕) ส่งข้อมูลให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้
(๕.๑)แบบสำรวจข้อมูลพื้นฐานซึ่งผ่านความเห็นชอบจากนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัดตามลำดับ
(๕.๒)สำเนารายงานการประชุมสภาทั้งสองแห่ง
(๕.๓) ประกาศผลการสำรวจเจตนารมณ์ตามแบบ สจร. ๑๑
(๕.๔)แผนที่แนวเขต (มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐) และคำบรรยายแนวเขตแนบท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 5 : องค์การบริหารส่วนตำบลสามารถที่จะขอไปรวมกับเทศบาลได้หรือไม่ ถ้าได้ มีขั้นตอนการดำเนินการอย่างไร
(๕.๒)สำเนารายงานการประชุมสภาทั้งสองแห่ง
(๕.๓) ประกาศผลการสำรวจเจตนารมณ์ตามแบบ สจร. ๑๑
(๕.๔)แผนที่แนวเขต (มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐) และคำบรรยายแนวเขตแนบท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย
[ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำตอบ (5): ได้ โดยมีเงื่อนไขและแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้
(๑) มีพื้นที่ติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน
(๒) ให้อำเภอจัดประชุมราษฎรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่จะไปรวมและราษฎรในเขตเทศบาลที่จะรับรวม ว่ามีความประสงค์จะไปรวมหรือจะรับรวมหรือไม่
(๓) หากประชาชนเสียงข้างมากในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่จะไปรวมและประชาชนในเขตเทศบาลที่จะรับรวม มีความประสงค์ที่จะไปรวมและรับรวม
ให้จัดส่งเอกสาร ดังต่อไปนี้ ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อดำเนินการต่อไป
(๑) มีพื้นที่ติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกัน
(๒) ให้อำเภอจัดประชุมราษฎรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่จะไปรวมและราษฎรในเขตเทศบาลที่จะรับรวม ว่ามีความประสงค์จะไปรวมหรือจะรับรวมหรือไม่
(๓) หากประชาชนเสียงข้างมากในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่จะไปรวมและประชาชนในเขตเทศบาลที่จะรับรวม มีความประสงค์ที่จะไปรวมและรับรวม
ให้จัดส่งเอกสาร ดังต่อไปนี้ ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อดำเนินการต่อไป
(๓.๑) สำเนารายงานการประชุม ตามข้อ (๒)
(๓.๒) คำบรรยายแนวเขตและแผนที่แนวเขตใหม่ ขนาด ๑:๕๐๐๐๐
(๓.๓) ข้อมูลเบื้องต้นในการรวมองค์การบริหารส่วนตำบลกับเทศบาล
(๓.๔) ความเห็นของสภาองค์การบริหารส่วนตำบลที่จะไปรวมและสภาเทศบาลที่จะรับรวม (๓.๕) ความเห็นของอำเภอและจังหวัด [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 6 : จะจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลเมือง โดยไม่ต้องผ่านการเป็นเทศบาลตำบล ได้หรือไม่
(๓.๒) คำบรรยายแนวเขตและแผนที่แนวเขตใหม่ ขนาด ๑:๕๐๐๐๐
(๓.๓) ข้อมูลเบื้องต้นในการรวมองค์การบริหารส่วนตำบลกับเทศบาล
(๓.๔) ความเห็นของสภาองค์การบริหารส่วนตำบลที่จะไปรวมและสภาเทศบาลที่จะรับรวม (๓.๕) ความเห็นของอำเภอและจังหวัด [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำตอบ (6): ได้ ถ้าเข้าหลักเกณฑ์ของการเป็นเทศบาลเมือง คือ เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด หรือมีจำนวนประชากรตั้งแต่หนึ่งหมื่นคนขึ้นไป [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 7 : ขอทราบขั้นตอนการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลตำบล
คำตอบ (7): องค์การบริหารส่วนตำบลที่ประสงค์จะจัดตั้งเป็นเทศบาล ให้ดำเนินการ ดังนี้
(๑) นำเรื่องเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณา
(๒) จัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน เพื่อสำรวจเจตนารมณ์ของประชาชนว่า
(๓) ส่งข้อมูลให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้
(๑) นำเรื่องเสนอให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณา
(๒) จัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน เพื่อสำรวจเจตนารมณ์ของประชาชนว่า
(๓) ส่งข้อมูลให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จำนวน ๓๐ ชุด ดังนี้
(๓.๑)แบบสำรวจข้อมูลพื้นฐานซึ่งผ่านความเห็นชอบจากนายอำเภอและผู้ว่าราชการจังหวัดตามลำดับ
(๓.๒)สำเนารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น ในคราวซึ่งมติเห็นชอบให้จัดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงฐานะ
(๓.๓)แผนที่แนวเขต (มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐) และคำบรรยายแนวเขตแนบท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย กรณีองค์การบริหารส่วนตำบลให้ยึดถือแนวเขตตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอ.........จังหวัด.........กรณีเทศบาลให้ยึดถือแนวเขตตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลนั้น หรือตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลนั้น แล้วแต่กรณี
(๓.๔)สำเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดเขตเทศบาลในท้องที่อำเภอ...........................จังหวัด................หรือสำเนาพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาล..................พ.ศ. .... หรือสำเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาล.................................. พ.ศ. ....(ฉบับที่ใช้กำหนดแนวเขตการปกครองในปัจจุบัน) [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 8 : จะมีกฎหมายเปลี่ยนแปลงฐานะขององค์การบริหารส่วนตำบล เป็นเทศบาลตำบลพร้อมกันทั่วประเทศหรือไม่ ถ้ามีจะมีผลใช้บังคับเมื่อใด
(๓.๒)สำเนารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น ในคราวซึ่งมติเห็นชอบให้จัดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงฐานะ
(๓.๓)แผนที่แนวเขต (มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐) และคำบรรยายแนวเขตแนบท้ายประกาศกระทรวงมหาดไทย กรณีองค์การบริหารส่วนตำบลให้ยึดถือแนวเขตตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอ.........จังหวัด.........กรณีเทศบาลให้ยึดถือแนวเขตตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลนั้น หรือตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลนั้น แล้วแต่กรณี
(๓.๔)สำเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดเขตเทศบาลในท้องที่อำเภอ...........................จังหวัด................หรือสำเนาพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาล..................พ.ศ. .... หรือสำเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาล.................................. พ.ศ. ....(ฉบับที่ใช้กำหนดแนวเขตการปกครองในปัจจุบัน) [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำตอบ (8): เรื่องนี้ต้องเป็นนโยบายของรัฐบาล ซึ่งปัจจุบันยังไม่มี ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลใดที่มีความประสงค์จะขอจัดตั้งเป็นเทศบาล ให้เสนอเรื่องมาได้เลย [ สน.พร. : สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง ** ]
คำถาม 9 : ในการจัดทำญัตติ ที่เสนอต่อประธานสภาฯ ให้ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือ กองกิจการสภาฯ เป็นผู้ดำเนินการจัดทำ กรณีให้กองกิจการสภาฯเป็นผู้จัดทำญัตติทั้งหมด จะสามารถรวมเรื่องของทุกส่วนราชการ เป็น ๑ ญัตติ ได้หรือไม่
คำตอบ (9): ญัตตินั้นสภาท้องถิ่นต้องพิจารณาเป็นรายญัตติไป แต่หากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นผู้เสนอญัตติเห็นว่าเรื่องใดเป็นเรื่องเดียวกันก็จะนำมารวมเป็นญัตติเดียวกันก็ได้ เช่น ญัตติขอจ่ายขาดเงินสะสม อาจนำเอารายการจ่ายขาดเงินสะสมเพื่อใช้จ่ายในเรื่องต่าง ๆ มารวมเป็นญัตติเดียวกันก็ได้ [ กม. : กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ]
คำถาม 10 : นายกฯ ได้เข้าร่วมพิธีบวชชีพราหมณ์เป็นเวลา ๒ วัน โดยนุ่งขาวห่มขาว ไม่ได้มาปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมายแล้วถือว่าสิ้นสุดการเป็นนายก อบต. หรือไม่ เข้าข่ายคุณสมบัติการเป็นนายกหรือไม่ เพราะเป็นนักพรต นักบวช
คำตอบ (10): การบวชชีพราหมณ์ ไม่ถือเป็นนักพรตหรือนักบวช ดังนั้น กรณีดังกล่าวไม่ถือว่านายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามแต่อย่างใด [ กม. : กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ]
คำถาม 11 : กรณีนายก อบต.หมดวาระ ต้องใช้คำว่าอย่างไรในการปฏิบัติหน้าที่ของปลัด ดังนี้ ๑. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล (ตาม พ.ร.บ.อบต. พ.ศ.๒๕๔๖ ม.๖๔ วรรคท้าย) ๒. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล รักษาการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ๓. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล รักษาราชการแทนนายกองค์การบริหารส่วนตำบล"
คำตอบ (11): ตามมาตรา ๖๔ วรรคสาม แห่ง พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๒ กำหนดว่า ในระหว่างที่ไม่มีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลให้ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปฏิบัติหน้าที่ของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเท่าที่จำเป็นได้เป็นการชั่วคราวจนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ดังนั้น กรณีนี้จึงต้องใช้คำว่า ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตามที่กฎหมายกำหนดไว้ดังกล่าว [ กม. : กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ]
คำถาม 12 : ตาม พ.ร.บ. อบจ. ม.๒๕ การเสนอญัตติถึงประธานสภาฯ ถือว่าเป็นคำร้องให้เปิดประชุม หรือไม่
คำตอบ (12): ตามมาตรา ๒๕ แห่ง พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้กำหนดให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหรือสมาชิกสภาองค์การบร
{DETAIL}