หลักสูตรการสอบแข่งขันประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน
เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2560
(แนบท้ายประกาศคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2560)
.........................................................................
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีทั้งหมด 3 ภาค โดยจะสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) และภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตำแหน่ง (ภาค ข.) ก่อน แล้วจึงให้ผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) และ ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตำแหน่ง (ภาค ข.) ตามเกณฑ์ในประกาศรับสมัครแล้ว มีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค.) โดยหลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) (คะแนนเต็ม 100 คะแนน)
เป็นการทดสอบโดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย โดยคำนึงถึงระดับความรู้ความสามารถที่ต้องการตามระดับตำแหน่ง ดังต่อไปนี้
1.1 วิชาความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) เป็นการทดสอบความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล ในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) ความสามารถในการสรุปความ หรือจับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว
(2) ความสามารถในการวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผลทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม เช่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง โมเดลเศรษฐกิจประเทศไทย 4.0 หรือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เป็นต้น
(3) ความสามารถในการหาแนวโน้มหรือความเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสมมติฐาน
(4) ความสามารถในการวิเคราะห์และสรุปเหตุผลอย่างอื่น เช่น สรุปเหตุผลเกี่ยวกับตัวเลข และข้อมูลต่าง ๆ การคิดสรุปหาเหตุผล และอุปมาอุปไมย เป็นต้น
1.2 วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) เป็นการทดสอบความพื้นฐานที่เกี่ยวกับกฎหมายในการปฏิบัติราชการ ในเรื่องดังต่อไปนี้
1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
2 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
3 พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
4 พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542
7 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
8 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
9 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
10 พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
11 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.3 วิชาภาษาไทย (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถในการใช้ภาษา โดยการอ่านจับใจความ การสรุปความ การตีความ การขยายความจากข้อความสั้นๆ หรือบทความ และให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ จากคาหรือกลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ การเรียงข้อความ การสะกดคา การแต่งประโยค และคาศัพท์
1.4 วิชาภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน ทางการอ่าน การสรุปความ การตีความ และความเข้าใจสาระสำคัญของข้อความในระดับเบื้องต้น
2. ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน (ภาค ข) (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) เป็นการทดสอบความรู้ความสามารถในทางที่จะใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งที่สมัครสอบโดยเฉพาะ โดยวิธีการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ในเรื่องดังต่อไปนี้
ที่ | ตำแหน่งที่สมัครสอบ | ขอบเขตเนื้อหาที่สอบ |
1 | เจ้าพนักงานการคลังปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจ่าย การเก็บรักษาเงิน การตรวจเงิน -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. ความรู้เกี่ยวกับเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 4. ความรู้เกี่ยวกับการบันทึกบัญชี การจัดทำทะเบียน และรายงานการเงิน ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการบันทึกบัญชี การจัดทำทะเบียน และรายงานการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5.ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
2 | เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจ่าย การเก็บรักษาเงิน การตรวจเงิน -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ความรู้เกี่ยวกับการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ความรู้เกี่ยวกับการบันทึกบัญชี การจัดทำทะเบียน และรายงานการเงิน -ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการบันทึกบัญชี การจัดทำทะเบียน และรายงานการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่ง ที่สมัครสอบ |
3 | เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2435 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. พระราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ความรู้เกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจ่าย การเก็บรักษาเงิน การตรวจเงิน -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 6. ความรู้เกี่ยวกับการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
4 | เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ความรู้เกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจ่าย การเก็บรักษาเงิน การตรวจเงิน -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ความรู้เกี่ยวกับการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560, ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5. ความรู้เกี่ยวกับการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
5 | เจ้าพนักงานทะเบียนปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 2. พระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. กฎกระทรวงกำหนดการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2547 5. กฎกระทรวงกำหนดให้คนต่างด้าวปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2548 6. กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2550 7. ความรู้เกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร์ เช่น การจัดทำทะเบียนบ้าน การจัดทำทะเบียนคนเกิด-ตาย การรับแจ้งย้ายที่อยู่อาศัย การแก้ไขรายการในทะเบียนบ้าน เป็นต้น 8. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
6 | เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2548 5. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (การบันทึกข้อมูล) 6. ความรู้เกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
7 | เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 3. ความรู้เกี่ยวกับหลักการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น 4. ความรู้เกี่ยวกับการแปลและการเรียบเรียงข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 5. ความรู้ความสามารถในการเขียนแผนงานโครงการประชาสัมพันธ์ 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
8 | เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย) 4. กฎกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท างานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555 5. ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและปฏิบัติการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น สำรวจตรวจตราเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และภัยอื่นๆ การฟื้นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย เป็นต้น 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
9 | เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 2. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 3. พระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดยานยนต์ในเขตเทศบาลและสุขาภิบาล พ.ศ. 2503 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 6. พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 7. พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2542 8. ความรู้เกี่ยวกับการจัดระเบียบของตลาดสด หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด 9. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
10 | เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชนปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 2. พระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547 3. ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 4. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 6. ความรู้และกระบวนการเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน - แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน เช่น หลักการพัฒนาชุมชน หลักการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ข้อมูลชุมชน วิธีการและกระบวนการพัฒนาชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนและผู้นำชุมชน การจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่างๆ การวางแผน โครงการและติดตามประเมินผลเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ เป็นต้น 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
11 | เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยวปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 2. พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 3. พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2551 4. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวในระดับต่างๆ 5. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
12 | เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการเกษตร เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช หลักพฤกษศาสตร์เบื้องต้น การจำแนกพืช การขยายพันธุ์พืช เช่น การตอน การติดตา การทาบกิ่ง ปักชำ ฯลฯ 2. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย 3. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลบำรุงรักษา เช่น การให้น้ำ การให้ปุ๋ย การจัดการดิน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การตัดแต่ง ฯลฯ 4. ความรู้ด้านเทคโนโลยีภูมิทัศน์ การส่งเสริมการเกษตร เช่น ส่งเสริมด้านการเกษตรให้กับเกษตรกร การทำเกษตรอินทรีย์ 5. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
13 | เจ้าพนักงานสวนสาธารณะปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการจัดสวน การจัดภูมิทัศน์ 2. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบสวนสาธารณะเบื้องตัน และการดูแลบำรุงรักษา 3. ความรู้เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมของสวนสาธารณะ 4. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลบำรุงรักษาสวนสาธารณะ และบำรุงรักษาภูมิทัศน์ 5. ความรู้เกี่ยวกับการให้น้ำและการใส่ปุ๋ยพรรณไม้ในสวน 6. ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและกำจัดศัตรูพรรณไม้ ในสวนสาธารณะ 7. ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานสถานที่พักผ่อนหย่อนใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
14 | เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4.พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 5. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานสาธารณสุขเบื้องต้น ได้แก่ - หลักการพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นฟูสุขภาพ - การควบคุมและป้องกันโรค - การส่งเสริมสุขภาพอนามัย การวางแผนครอบครัว งานอนามัยแม่และเด็ก งานอนามัยโรงเรียน งานสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม งานโภชนาการ งานทางด้านระบาดวิทยา 6. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิตามหลักประกันสุขภาพ ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว และสิทธิผู้ป่วย 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
15 | เจ้าพนักงานสุขาภิบาลปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 4. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 5. ความรู้เกี่ยวกับงานสุขาภิบาล 6. ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการของเสีย 7. ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการน้ำเสีย 8. ความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการปฏิกูลของแข็ง 9. ความรู้เกี่ยวกับระบบระบายน้ำสำหรับน้ำฝน, 10. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
16 | เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการทันตกรรม ทันตสาธารณสุข 2. ความรู้เกี่ยวกับการเตรียม การดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ 3. ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคในช่องปาก 4. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก 5. ความรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาทางทันตกรรมพื้นฐาน 6. ความรู้เกี่ยวกับระบบงานทันตสาธารณสุข 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
17 | พยาบาลเทคนิคปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการพยาบาล 2. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเบื้องต้น 3. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วย 4. ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 5. ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 6. ความรู้เกี่ยวกับ โภชนาการและโภชนบำบัด 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
18 | สัตวแพทย์ปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์และจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. 2535 2. พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. 2535 4. ความรู้เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรคสัตว์ 5. ความรู้เกี่ยวกับโรคสัตว์ และโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 6. ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
19 | เจ้าพนักงานห้องสมุดปฏิบัติงาน | 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด 2. ความรู้เกี่ยวกับสื่อสารสนเทศในห้องสมุด 3. ความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทหนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสารโสตทัศนวัสดุ 4. ความรู้เกี่ยวกับการบริการและกิจกรรมของห้องสมุด 5. ความรู้เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่หนังสือ และการระวังรักษาหนังสือ 6. ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือสืบค้นห้องสมุด 7. ความรู้เกี่ยวกับระเบียบและมารยาทการใช้ห้องสมุด 8. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
20 | เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชนปฏิบัติงาน | 1. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานศูนย์เยาวชน 2. ความรู้เกี่ยวกับหลักการบริหารจัดการศูนย์เยาวชน 3. ความรู้เกี่ยวกับด้านพลศึกษา ด้านศิลป์ ด้านห้องสมุด ด้านนาฏศิลป์ ด้านคหกรรมศาสตร์ การจัดกิจกรรมพิเศษ 4. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเยาวชนนอกสถานศึกษา 5. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
21 | นายช่างเขียนแบบปฏิบัติงาน | 1.ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและเขียนแบบสถาปัตยกรรม 2. ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เขียนแบบ โปรแกรม AutoCAD และโปรแกรมที่ใช้เขียนแบบอื่นๆ 3. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและระบบ สัญลักษณ์วัสดุก่อสร้างด้านสถาปัตยกรรมและด้านวิศวกรรม 4. ความรู้เกี่ยวกับงานภูมิทัศน์ 5. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านแผนที่ 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
22 | นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการซ่อม การบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ 2. ความรู้เกี่ยวกับนิวเมติกและไฮดรอลิกส์ 3. ความรู้เกี่ยวกับเครื่องยนต์สันดาปภายใน 4. ความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงานของเครื่องยนต์ 5. ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าเบื้องต้น 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
23 | นายช่างผังเมืองปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดทำผังเมือง 2. ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและความรู้ด้านผังเมือง 3. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายผังเมือง 4. ความรู้เกี่ยวกับการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ และการพัฒนาเมือง 5. ความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการวางแผนและผังเมือง 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
24 | นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน | 1. ความรู้พื้นฐานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 2. ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอลและคอมพิวเตอร์ 3. ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบมอเตอร์ไฟฟ้า ระบบแสงสว่าง และเครื่องปรับอากาศ 4. ความรู้เกี่ยวกับการติดตั้ง ซ่อมแซม บำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้เกี่ยวกับไฟฟ้า และระบบไฟฟ้า 5. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และคำนวณหาค่าวงจรไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ 6. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
25 | นายช่างโยธาปฏิบัติงาน | 1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548 3. ความรู้เกี่ยวกับงานถอดแบบ การประมาณราคา การบริหารงานก่อสร้าง เทคนิคการก่อสร้าง การตรวจและควบคุมงานก่อสร้าง การปฏิบัติงานก่อสร้าง 4. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและคำนวณโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก วัสดุทางด้านวิศวกรรมและการทดสอบ 5. ความรู้เกี่ยวกับการสำรวจเพื่อการก่อสร้าง 6. ความรู้เกี่ยวกับเครื่องจักรก่อสร้าง 7. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบวัสดุ ปฐพีกลศาสตร์ และคอนกรีตเทคโนโลยี 8. การดำเนินการป้องกันและแก้ปัญหาน้ำท่วม การระบายน้ำและการบำรุงรักษาแหล่งน้ำ 9. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
26 | นายช่างสำรวจปฏิบัติงาน | 1. ความรู้พื้นฐานด้านงานสำรวจและการทำแผนที่ 2. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ AutoCAD และโปรแกรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณและเขียนแผนที่ การคำนวณพื้นที่จากค่าพิกัด 4. ความรู้เกี่ยวกับการรังวัดหมุดหลักฐานแผนที่โดยดาวเทียมเบื้องต้น (GPS) 5. ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณมาตราส่วนบนรูปถ่ายทางอากาศ ประโยชน์ของภาพถ่ายทางอากาศในงานแผนที่ หลักการแปลภาพถ่ายทางอากาศ 6. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ (GIS) 7. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
27 | เจ้าพนักงานประปาปฏิบัติงาน | 1. ความรู้เกี่ยวกับการติดตั้ง ซ่อมแซม บำรุงรักษาระบบประปา รวมทั้งการผลิตและจำหน่ายน้ำประปา 2. ความรู้เกี่ยวกับเครื่องสูบน้ำและการใช้งาน 3. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ 4. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ |
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ-1