พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2496
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2496
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๔๙๖”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๗) ของมาตรา ๑๒๙๒ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “(๗) โดยนายทะเบียนขีดชื่อออกจากทะเบียน”
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๑๒๙๓ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมครั้งสุดท้ายโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗
มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๒๙๓ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
นิยาม ความหมาย
กฎหมายแพ่ง ( Civil Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันในฐานะที่เท่าเทียมกัน โดยกำหนดความสัมพันธ์ในเรื่องบุคคล หนี้สิน ทรัพย์สิน ครอบครัว และมรดก
กฎหมายพาณิชย์ ( Commercial Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชน ที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติในทางการค้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในภาคธุรกิจ
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๔๙๖”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๗) ของมาตรา ๑๒๙๒ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “(๗) โดยนายทะเบียนขีดชื่อออกจากทะเบียน”
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๑๒๙๓ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมครั้งสุดท้ายโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗
มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๒๙๓ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
นิยาม ความหมาย
กฎหมายแพ่ง ( Civil Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันในฐานะที่เท่าเทียมกัน โดยกำหนดความสัมพันธ์ในเรื่องบุคคล หนี้สิน ทรัพย์สิน ครอบครัว และมรดก
กฎหมายพาณิชย์ ( Commercial Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชน ที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติในทางการค้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในภาคธุรกิจ