พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช 2477
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗”
มาตรา ๒* ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๖
มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เข้าเป็นวรรค ๒ และวรรค ๓ ของมาตรา ๑๒๘๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “แต่ถ้าปรากฏว่าวัตถุที่ประสงค์ หรือกิจการของสมาคมใดน่าจะเป็นภัยอันตรายต่อสันติภาพของประชาชนก็ดี หรืออาจจะก่อให้เกิดความไม่สงบในบ้านเมืองก็ดี นายทะเบียนไม่รับจดทะเบียนสมาคมนั้นได้
นิยาม ความหมาย
กฎหมายแพ่ง ( Civil Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันในฐานะที่เท่าเทียมกัน โดยกำหนดความสัมพันธ์ในเรื่องบุคคล หนี้สิน ทรัพย์สิน ครอบครัว และมรดก
กฎหมายพาณิชย์ ( Commercial Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชน ที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติในทางการค้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในภาคธุรกิจ
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗”
มาตรา ๒* ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พุทธศักราช ๒๔๗๖
มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เข้าเป็นวรรค ๒ และวรรค ๓ ของมาตรา ๑๒๘๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “แต่ถ้าปรากฏว่าวัตถุที่ประสงค์ หรือกิจการของสมาคมใดน่าจะเป็นภัยอันตรายต่อสันติภาพของประชาชนก็ดี หรืออาจจะก่อให้เกิดความไม่สงบในบ้านเมืองก็ดี นายทะเบียนไม่รับจดทะเบียนสมาคมนั้นได้
นิยาม ความหมาย
กฎหมายแพ่ง ( Civil Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันในฐานะที่เท่าเทียมกัน โดยกำหนดความสัมพันธ์ในเรื่องบุคคล หนี้สิน ทรัพย์สิน ครอบครัว และมรดก
กฎหมายพาณิชย์ ( Commercial Law ) หมายถึง กฎหมายเอกชน ที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติในทางการค้าที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในภาคธุรกิจ